วันอาทิตย์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2553

ยานยนต์ไฮบริด

ยานยนต์ไฮบริดควาหมายของยานยนต์ไฮบริด
ไฮบริด (อังกฤษ: hybrid) คือ ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สองระบบทำงานร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการทำงานร่วมกันระหว่างระบบสันดาปภายในที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงทำงานร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า





ประเภทของระบบไฮบริดมี3ประเภทคือ

1.ระบบไฮบริดแบบ อนุกรม (Series Hybrid)
2.ระบบไฮบริดแบบ คู่ขนา(ParallelHybrid)
3.ระบบไฮบริดแบบอนุกรม/คู่ขนาน

BMWสปอร์ตไฮบริด ดีเซล”800 นิวตันเมตรจิบ26กม



ส่วนประกอบของรถยนต์ไฮบริด

รถไฮบริดประกอบด้วยส่วนต่างๆดังต่อไปนี้
1.เครื่องยนต์แก๊สโซลีน
2.ถังน้ำมัน ในรถยนต์ไฮบริด
3.มอเตอร์ไฟฟ้า
4.แบตเตอรี่
5.เจนเนอร์เรเตอร์

ขั้นตอนการทำงานของระบบไฮบริด

แบ่งการทำงานของระบบไฮบริดเป็น 7 สถานะ ดังนี้

1. เริ่มต้นขับเคลื่อน

2. การขับขี่ด้วยความเร็วต่ำ/ปานกลาง


3. การขับขี่ด้วยความเร็วปกติ


4. การขับขี่ความเร็วปกติ / การชาร์จแบตเตอรี่


5. การเร่งเครื่องยนต์


6. การลดความเร็ว / การผลิตพลังงานเพิ่ม


7. เมื่อหยุดอยู่กับที่






ข้อดีของระบบไฮบริด

-ประหยัดพลังงาน


-ลดมลพิษ


-อัตราเร่งราบรื่นไม่ติดขัด


-ไร้เสียงรบกวนขณะขับขี่



ข้อได้เปรียบของระบบไฮบริด

- ประหยัดน้ำมัน เพราะเครื่องยนต์ไม่ทำงาน


- ออกตัวดี ด้วยแรงบิดสูงสุดของมอเตอร์ไฟฟ้าเท่านั้น


- ไม่มีมลภาวะเสียงและไอเสีย เพราะเครื่องยนต์ไม่ทำงาน


- ประหยัดน้ำมันกว่ารถยนต์ในรุ่นเทียบเท่ากัน- ลดการสูญเสียพลังงาน


- มลภาวะต่ำทั้งเสียงและไอเสีย- อัตราเร่งสุด- ปลอดภัยในการเร่งแซง


- เก็บพลังงานที่ปกติจะสูญเสียไป ไว้ในแบตเตอรี่


- ลดมลภาวะจากไอเสีย เพราะเครื่องยนต์ไม่ทำงาน


- เสียงเงียบ- ประหยัดน้ำมัน เพราะเครื่องยนต์ไม่ทำงาน


- ไม่มีมลภาวะจากเสียงและไอเสีย



วันศุกร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2553

ข่าวประจำสัปดาห์ที่13

ดรรชนี เป็นสิ่งพิมพ์ที่รวบรวมรายชื่อบทความทางวิชาการ ที่จะเป็นประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าวิจัย ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารหรือหนังสือพิมพ์ต่างๆ ดรรชนีแต่ละรายการจะให้รายละเอียดต่างๆที่สามารถสืบค้นเพื่อเข้าถึงบทความที่ต้องการได้ ได้แก่ ชื่อผุ้แต่ง ชื่อบทความ ชื่อวารสาร ชื่อหนังสือพิมพ์ที่ลงเรื่องนั้นๆ ปีที่ ฉบับที่ วัน เดือน ปี ของวารสาร ปละเสขหน้าที่ลงบทความ จัดเรียงตามลำดับ ชื่อผู้เขียนบทความ หรือชื่อหัวเรื่อง ดรรชนีวารสารมักนิยมทำในรูปวารสาร เพื่อให้ ดรรชนีที่ทำขึ้นมีความเป็นปัจจุบัน หนังสืออ้างอิงประเภทดรรชนี มีลักษณะและวัตถุประสงค์ที่แตกต่างจากดรรชนีท้ายเล่มเพราะหนังสืออ้างอิงประเภทดรรชนีมีการพิมพ์เป็นเล่นต่างหาก ให้สำหรับค้นหาบทความที่ต้องการจากวารสารและหนังสือพิมพ์ ส่วนดรรชนีท้ายเล่มเป็นรายการคำหรือข้อความสำคัญที่ปรากฏอยู่ในเนื้อหาของหนังสือ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาคำหรือข้อความที่ต้องการได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ประเภทของดรรชนีวารสาร แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1 ดรรชนีทั่วไป เป็นดรรชนีที่ไม่จำกัดขอบเขตวิชา ใช้ค้นบทความในสาขาวิชาต่างๆจากวารสารทั่วไปและวารสารทางวิชาการ เช่น Reader's Guide to Periodical Literature เป็นต้น 2 ดรรชนีวารสารเฉพาะวิชา จัดทำขึ้นเพื่อใช้ค้นเรื่องในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง โดยเฉพาะ เช่น Social Sciences and Humanities Index 3 ดรรชนีวารสารเฉพาะชื่อ จัดทำขึ้นจากวารสารชื่อใดชื่อหนึ่งเท่านั้น 4 ดรรชนีวารสารที่ห้องสมุดจัดทำขึ้นเอง มักทำในรูปของบัตรดรรชนีวารสารหรือฐานข้อมูล 5 ดรรชนีรวมเรื่อง เป็นดรรชนีค้นหาบทความในหนังสือรวมเรื่อง ซึ่งอาจเขียนโดยบุคคลคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ เช่น Index to Song Books 6 ดรรชนีหนังสือพิมพ์ เป็นดรรชนีที่ใช้ค้นหาเรื่องราวเกี่ยวกับข่าว บทความ ปีที่ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ เช่น ดรรชนีหนังสือพิมพ์ไทย






การใช้ดรรชนีจะต้องวิเคราะห์ว่าบทความที่ต้องการนั้นเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร หรือมีข้อมูลว่า ผู้แต่งบทความ ชื่ออะไร หรือบทความนั้นมีชื่อเรื่องว่าอะไร ข้อมูลที่ใช้ค้นอาจจะเป็นชื่อบทความ หัวเรื่อง ชื่อผู้แต่ง หรือชื่อเรื่อง เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งก็สามารถสืบค้นจากดรรชนีหัวเรื่อง ดรรชนีผู้แต่ง หรือดรรชนีชื่อเรื่อง เพื่อเข้าถึงสิ่งพิมพ์ที่ลงบทความนั้นๆได้ ทั้งนี้ต้องให้ประเภทของชื่อที่ต้องการค้นกับดรรชนีที่ใช้ค้นเป็นประเภทเดียวกัน


ตัวอย่างหนังสือ ดรรชนี


ดรรชนี: ดรรชนีวารสารไทย 2537 – 2539. กรุงเทพฯ : สำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์, 2543. เป็นดรรชนีวารสาร ซึ่งจัดทำดรรชนีจากบทความวารสารวิชาการสังคมศาสตร์ ซึ่งพิพ์เผยแพร่ระหว่าง พ.ศ. 2533 – 2539 จำนวน 175 ชื่อ แบ่งออกเป็น 3 ภาค คือ ดรรชนีเรียงตามหัวเรื่อง (Subject Index) รายชื่อวารสารที่ทำดรรชนี (List of Periodicals indexed) และดรรชนีเรียงตามชื่อผู้แต่ง (Author Index) ให้รายละเอียดรายการดรรชนีดังนี้ ชื่อผู้แต่ง ชื่อบทความ ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ วันเดือนปี และเลขหน้า นอกจานี้ดรรชนีบางรายการจะให้รายละเอียดที่เป้นประโยชน์เกี่ยวกับบทความ ได้แก่ ภาพประกอบ ตาราง แผนที่ แผนภูมิ รวมทั้งหมายเหตุข้อความ โดยลงรายละเอียดดังกล่าว ไว้หลังเลขหน้า
ที่มาhttp://www.lib.buu.ac.th/tutorial/ref/index4_8.html

ข่าวประจำสัปดาห์ที่12

คุ่มือเป็นหนังสือที่ให้สารสนเทศเกี่ยวกับวิธีทำหรือปฏิบัติสิ่งต่างๆอย่างๆไร โดยสรุปเนื้อหาของเรื่องหรือสาขาวิชานั้นไว้ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเรื่องต่างๆได้ทุกเรื่อง แต่เนื้อหาจะเฉพาะเจาะจงและเจาะลึกในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเท่านั้น ประเภทของคู่มือแบ่งออกเป็น2ประเภทคือ 1 คู่มือปฏิบัติกิจกรรมทั่วๆไป เป็นคู่มือที่ช่วยให้ทราบเรื่องการดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวัน เช่น การออกแบบและบำรุงซ่อมแซมที่อยู่อาศัย งานอดิเรก นันทนาการ การสังคมและสมาคม เป็นต้น 2 คู่มือปฏิบัติการกิจกรรมเฉพาะสาขาวิชา ใช้ประกอบในการศึกษาค้นคว้า ปฏิบัติการต่างๆในแต่ละสาขา ที่ไม่ใช่ตำรา ลักษณะสารสนเทศจะเป็นสรุปย่อความรู้ที่ได้ศึกษาเสร็จสิ้นแล้วมากกว่าจะเป็นความรู้ที่เป้นความก้าวหน้าในปัจจุบัน




ควรสำรวจเนื้อหาที่ต้องการจากหนังสือคู่มือโดยใช้วิธีเดียวกับหนังสืออ้างอิงอื่นๆ คือ ตรวจสอบจากสารบัญและดรรชนี ส่วนการเรียบเรียงจะเป็นระบบง่ายต่อการใช้ มักมีภาพประกอบเสมอ

ตัวอย่างหนังสือ คู่มือ

รีดเดอร์ส ไดเจสท์. เคล็ดลับน่ารู้คู่บ้านและครอบครัว. พิมพ์ครั้งที่ 2. ริสเดอร์ส ไดเจสท์ (ประเทศ ไทย): กรุงเทพฯ, 2544. เป็นหนังสือคู่มือเกี่ยวกับ การใช้ชีวิตภายในบ้านให้อยู่อย่างมีความสุข ภายในเล่มประกอบด้วย 6 เรื่องใหญ่ๆ ได้แก่ จัดระบบชีวิตในบ้าน เรื่องน่ารู้ภายในบ้าน งานนอกบ้าน เรื่องใกล้ตัว อาหารและโภชนาการ ปรับแต่งบ้านให้สวยงามยิ่งขึ้น ภายในเล่ม มีภาพประกอบที่น่าสนใจ มีดัชนี เพื่อใช้ในการสืบค้น ในส่วนท้ายของเล่ม

ที่มาhttp://www.lib.buu.ac.th/tutorial/ref/index4_9.html